PRODUCTS & SERVICES > CK STANDARD

ขั้นตอนการทำงาน

ขั้นที่ 1. กำหนดตำแหน่งเสาเข็ม
เมื่อเจ้าหน้าที่จากผู้ว่าจ้างได้ทำการกำหนดหมุดของเสา
เข็มเรียบร้อยแล้ว เจ้าหน้าที่ของทางบริษัทจะทำการกำ
หนดจุดอ้างอิงเพิ่มเติมเพื่อใช้ในการติดตั้งเคส ซิ่งในลำดับต่อไป

ขั้นตอนการทำงาน

ขั้นที่ 2. ติดตั้งท่อเคสซิ่ง
ท่อเคสซื่งจะถูกปั่นลงไปในดินโดยรักษาตำแหน่งของเสาเข็ม
ด้วยการอ้างอิงจากจุดอ้างอิงที่กำหนดไว้ในขั้นที่ 1
ความตั้งตรงของท่อเคสซิ่งนั้นจะถูกตรวจสอบ
ตลอดกระบวนการติดตั้งท่อ

ขั้นตอนการทำงาน

ขั้นที่ 3. เริ่มกระบวนการเจาะ
เริ่มกระบวนการเจาะโดยใช้หัวสว่านหรือบัคเก๊ต
(ข้ึนอยู่กับสภาพดิน/หิน) เมื่อเจาะเสาเข็มไปจน
ถึงระดับน้ำใต้ดินแล้ว น้ำยาเบนโทไนท์จะถูกปั๊มใส่
ในหลุมเจาะเพื่อป้องกันการพังทลาย ของหลุมคุณสมบัติ
ของน้ำยาเบนโทไนท์นั้น จะใช้ตามความเหมาะสมของสภาพดิน
ตามหน้างานโดยอ้างอิงตามมาตรฐานของ CK

ขั้นตอนการทำงาน

ขั้นที่ 4. เก็บตะกอน
เมื่อเจาะหลุมเสาเข็มจนได้ความลึกที่ต้องการแล้ว
เพื่อป้องกันการตกตะกอนของเศษดิน ที่อาจเกิดขึ้น
ในเวลาต่อมา ทางเจ้าหน้าที่จะใช้บัคเก๊ตเก็บตะกอนที่
ก้นหลุม ทั้งนี้เพื่อความสมบูรณ์ของเสาเข็ม

ขั้นตอนการทำงาน

ขั้นที่ 5. ตรวจสอบหลุมเจาะ และติดตั้งโครงเหล็กเสริมท่อ
หลักจากเจ้าหน้าที่จากทางผู้ว่าจ้างได้ทำการตรวจสอบความลึก
เรียบร้อยแล้ว จึงเริ่มกระบวนการตรวจสอบความสมบูรณ์
ของหลุมเจาะด้วยเครื่อง Borehole Inclination Tester
เช่น KODEN จากนั้นเจ้าหน้าที่ของทางบริษัทจะเริ่มติดตั้ง
โครงเหล็ก เสริมพร้อมท่อ Sonic Logging ลงไปในหลุมเจาะ

ขั้นตอนการทำงาน

ขั้นที่ 6. เริ่มกระบวนการเทคอนกรีต
ท่อเทรมมี่จะถูกใช้ในการส่งปูนลงไปด้านล่างสุดของหลุมเจาะ
จากนั้นปูน จะดันน้ำยาเบนโทไนท์กลับมายังปากหลุม
กระบวนการนี้จะทำต่อเนื่อง ไปจนปูนถูกบรรจุเต็มหลุม
วิธีการส่งปูนไปทางด้านล่างของหลุมเจาะนี้ เป็นการป้องกัน
การแยกตัวของเนื้อปูนได้อย่างดี

ขั้นตอนการทำงาน

ขั้นที่ 7. เก็บงาน
ถอนท่อเทรมมี่และเลื่อนย้ายเครื่องจักรเพื่อเตรียมเจาะ
ในตำแหน่งเสาเข็มต่อไป

รายการตรวจสอบ
เพื่อความสมบูรณ์ของเสาเข็ม

  • ตรวจสอบตาแหน่งของเสาเข็ม
  • ตรวจสอบความตั้งตรงของท่อเคสซิ่งและหัวสว่านระหว่างขึ้นตอนการใส่เคสซิ่งและเจาะดิน
  • ตรวจสอบความลึกระหว่างการเจาะเพื่อเฝ้าสังเกตการฟังทลายของหลุม

รายการตรวจสอบ
เพื่อความสมบูรณ์ของเสาเข็ม

  • ตรวจสอบคุณสมบัติของนำ้ยาเบนโทไนท์ให้เป็นไปตาม ที่กาหนดก่อนที่จะนาไปใช้ในกระบวนการเจาะ
  • ตรวจสอบรายละเอียดของโครงเหล็กเสริม ให้เป็นไปตามแบบที่กำหนด
  • ตรวจสอบคุณสมบัติของคอนกรีตผสมให้เป็นไปตามท่ีกำหนด

รายการตรวจสอบ
เพื่อความสมบูรณ์ของเสาเข็ม

  • ตรวจสอบตลอดกระบวนการเทปูน โดยกาหนดให้ปลายด้านล่างของท่อเทรมม่ี อยู่ตำ่กว่าผิวเน้ือปูนอย่างน้อย 2 เมต จนกว่าจะเสร็จสิ้นกระบวนการเท<
  • เปรียบเทียบปริมาตรของปูนที่ใช้จริงและปริมาตร ของปูนที่ได้จากการคำนวณเพ่ือนาไปวิเคราะห์ต่อไป
  • จดบันทึกข้อมูลสำคัญต่างๆของเสาเข็มแต่ละต้น เช่น ระยะเวลาท่ีใช้ในแต่ละขั้น คุณสมบัติของน้ายาเบนโทไนท์ ปริมาตรของปูนที่ใช้ และอื่นๆ

PRODUCTS & SERVICES > CK STANDARD

ขั้นตอนการทำงาน

ขั้นที่ 1. กำหนดตำแหน่งเสาเข็ม
เมื่อเจ้าหน้าที่จากผู้ว่าจ้างได้ทำการกำหนดหมุดของเสา
เข็มเรียบร้อยแล้ว เจ้าหน้าที่ของทางบริษัทจะทำการกำ
หนดจุดอ้างอิงเพิ่มเติมเพื่อใช้ในการติดตั้งเคส
ซิ่งในลำดับต่อไป

ขั้นตอนการทำงาน

ขั้นที่ 2. ติดตั้งท่อเคสซิ่ง
ท่อเคสซื่งจะถูกปั่นลงไปในดินโดยรักษาตำแหน่งของเสาเข็ม
ด้วยการอ้างอิงจากจุดอ้างอิงที่กำหนดไว้ในขั้นที่ 1
ความตั้งตรงของท่อเคสซิ่งนั้นจะถูกตรวจสอบ
ตลอดกระบวนการติดตั้งท่อ

ขั้นตอนการทำงาน

ขั้นที่ 3. เริ่มกระบวนการเจาะ
เริ่มกระบวนการเจาะโดยใช้หัวสว่านหรือบัคเก๊ต
(ข้ึนอยู่กับสภาพดิน/หิน) เมื่อเจาะเสาเข็มไปจนถึง
ระดับน้ำใต้ดินแล้ว น้ำยาเบนโทไนท์จะถูกปั๊มใส่ในหลุมเจาะ
เพื่อป้องกันการพังทลายของหลุม คุณสมบัติของน้ำยา
เบนโทไนท์นั้น จะใช้ตามความเหมาะสมของสภาพดิน
ตามหน้างานโดยอ้างอิงตามมาตรฐานของ CK

ขั้นตอนการทำงาน

ขั้นที่ 4. เก็บตะกอน
เมื่อเจาะหลุมเสาเข็มจนได้ความลึกที่ต้องการแล้ว
เพื่อป้องกันการตกตะกอนของเศษดิน ที่อาจเกิดขึ้น
ในเวลาต่อมา ทางเจ้าหน้าที่จะใช้บัคเก๊ต
เก็บตะกอนที่ก้นหลุม ทั้งนี้เพื่อความสมบูรณ์ของเสาเข็ม

ขั้นตอนการทำงาน

ขั้นที่ 5. ตรวจสอบหลุมเจาะ และติดตั้งโครงเหล็กเสริมท่อ
หลักจากเจ้าหน้าที่จากทางผู้ว่าจ้างได้ทำการตรวจสอบความ
ลึกเรียบร้อยแล้ว จึงเริ่มกระบวนการตรวจสอบความสมบูรณ์
ของหลุมเจาะด้วยเครื่อง Borehole Inclination Tester
เช่น KODEN จากนั้นเจ้าหน้าที่ของทางบริษัทจะเริ่มติดตั้งโครง
เหล็กเสริมพร้อมท่อ Sonic Logging ลงไปในหลุมเจาะ

ขั้นตอนการทำงาน

ขั้นที่ 6. เริ่มกระบวนการเทคอนกรีต
ท่อเทรมมี่จะถูกใช้ในการส่งปูนลงไปด้านล่างสุดของหลุมเจาะ
จานั้นปูน จะดันน้ำยาเบนโทไนท์กลับมายังปากหลุม
กระบวนการนี้จะทำต่อเนื่อง ไปจนปูนถูกบรรจุเต็มหลุม
วิธีการส่งปูนไปทางด้านล่างของหลุมเจาะนี้ เป็นการป้องกัน
การแยกตัวของเนื้อปูนได้อย่างดี

ขั้นตอนการทำงาน

ขั้นที่ 7. เก็บงาน
ถอนท่อเทรมมี่และเลื่อนย้ายเครื่องจักรเพื่อเตรียมเจาะ
ในตำแหน่งเสาเข็มต่อไป

รายการตรวจสอบ
เพื่อความสมบูรณ์ของเสาเข็ม

  • ตรวจสอบตาแหน่งของเสาเข็ม
  • ตรวจสอบความตั้งตรงของท่อเคสซิ่งและหัวสว่านระหว่างขึ้นตอนการใส่เคสซิ่งและเจาะดิน
  • ตรวจสอบความลึกระหว่างการเจาะเพื่อเฝ้าสังเกตการฟังทลายของหลุม
  • ตรวจสอบคุณสมบัติของนำ้ยาเบนโทไนท์ให้เป็นไปตาม ที่กาหนดก่อนที่จะนาไปใช้ในกระบวนการเจาะ

รายการตรวจสอบ
เพื่อความสมบูรณ์ของเสาเข็ม

  • ตรวจสอบรายละเอียดของโครงเหล็กเสริม ให้เป็นไปตามแบบที่กำหนด
  • ตรวจสอบคุณสมบัติของคอนกรีตผสมให้เป็นไปตามท่ีกำหนด
  • ตรวจสอบตลอดกระบวนการเทปูน โดยกาหนดให้ปลายด้านล่างของท่อเทรมม่ี อยู่ตำ่กว่าผิวเน้ือปูนอย่างน้อย 2 เมต จนกว่าจะเสร็จสิ้นกระบวนการเท<
  • เปรียบเทียบปริมาตรของปูนที่ใช้จริงและปริมาตร ของปูนที่ได้จากการคำนวณเพ่ือนาไปวิเคราะห์ต่อไป

รายการตรวจสอบ
เพื่อความสมบูรณ์ของเสาเข็ม

  • จดบันทึกข้อมูลสำคัญต่างๆของเสาเข็มแต่ละต้น เช่น ระยะเวลาท่ีใช้ในแต่ละขั้น คุณสมบัติของน้ายาเบนโทไนท์ ปริมาตรของปูนที่ใช้ และอื่นๆ